(หน่วยที่1)

เนื้อหาหน่วยที่1
ชื่อหนังสือ:การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
อาจารย์  อัพวัน  อัมพรสินธุ์
คณะครุศาสตร์:สถาบันราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง:2544

การส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
ในโลกแห่งการสร้างสรรค์  จินตนาการของเด็กๆ นั้นล้วนเต็มไปด้วยความรู้สึกนึกคิดอันสดใสบริสุทธิ์  ซึ่งส่วนหนึ่งก่อเกิดมาจากความรักความอบอุ่นที่ครอบครัวมีให้แล้วแปรเปลี่ยนถ่ายทอดออกมาเป็นจินตนาการอันล้ำค่า  ความคิดสร้างสรรค์จึงเป็นสิ่งที่สำคัญต่อพัฒนาการด้านสติปัญญาและอารมณ์ของเด็ก  ซึ่งปัจจัยสำคัญในการส่งเสริมให้เด็กมีความคิดในเชิงสร้างสรรค์ก็คือ  พ่อแม่และสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะสิ่งแวดล้อมทางบ้านและโรงเรียน

ปัจจุบันเด็กไทยมีความคิดในเชิงสร้างสรรค์มากขึ้น จะเห็นได้จากในอดีตเวลาพูดคุยกับนักเรียน เด็กวัยรุ่น หรือแม้แต่ผู้ใหญ่ มักจะไม่ค่อยแสดงความคิดเห็นหรือวิพากษ์วิจารณ์ สั่งให้ทำอย่างไรก็ทำอย่างนั้น ซึ่งสมัยนั้นคงจะมองดูเหมาะสมเพราะการเลี้ยงดูและวัฒนธรรมไทย มีลักษณะที่ผู้ใหญ่ต้องดูแลปกครอง เด็กจะต้องเชื่อฟังอย่างไม่มีข้อขัดแย้ง แต่ปัจจุบันทุกอย่างก้าวหน้าไปมาก วิทยาการก้าวไปไกล ถ้าเรามีเยาวชนหรือผู้ใหญ่ที่ไม่กล้าคิดอย่างสร้างสรรค์สังคมเราก้อคงพัฒนาไม่ทันคนอื่นเขา แม้ว่าปัจจุบันลูกหลานของเราจะมีความคิดในเชิงสร้างสรรค์ดีกว่าอดีตแต่เมื่อเทียบกับเด็กต่างประเทศแค่ในเอเชียอย่างสิงคโปร์ มาเลย์เซีย ญี่ปุ่น หรือเกาหลีพวกเขาดูจะเป็นเด็กที่มีความคล่องแคล่วทั้งความคิด พฤติกรรม และการทำกิจกรรมต่างๆมากกว่าเด็กไทยดังนั้นเราควรช่วยกันส่งเสริมปลูกฝังให้เด็กไทยมีความคิดในเชิงสร้างสรรค์มากกว่าที่เป็นอยู่ขณะนี้

การส่งเสริมความคิดอย่างสร้างสรรค์ของเด็กนอกตำราเรียน



บรรณานุกรม
กรุงเทพธุรกิจ. โรงบ่มความคิดสร้างสรรค์ “สอนเด็กให้สร้างปัญญาด้วยตนเอง” . กรุงเทพฯ (20 ตุลาคม 2542): 3.
ประสาร มาลากุล ณ อยุธยา. ความคิดสร้างสรรค์ : พรสวรรค์ที่พัฒนาได้.        กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์พิธการพิมพ์, 2537.
วิชาการ, กรม. กระทรวงศึกษาธิการ.ความคิดสร้างสรรค์. พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ, 2535.
อารี  พันธ์มณี. คิดอย่างสร้างสรรค์. พิมพ์ครั้งที่5.กรุงเทพฯ:  ต้นอ้อแกรมมี่, 2540 ก.
อารี   รังสินันท์. ความคิดสร้างสรรค์.พิมพ์ครั้งที่3 กรุงเทพ: ข้าวฟ่าง, 2532.
อุษณีย์ โพธิสุข และกองบรรณาธิการโครงการพิเศษ. สร้างลูกให้เป็นอัจฉริยะ.กรุงเทพฯ: ผู้จัดการ. (1954), 2537.
ออลสัน, โรเบิร์ท. ศิลปะการเสริมสร้างพลัง “ความคิดสร้างสรรค์” พิมพ์ครั้งที่2. แปลจาก The Art of Creative Thinking โดย มนูญ ตนะวัฒนา. กรุงเทพฯ: เจริญวิทย์การพิมพ์, 2537.
เอมสตีน, เซย์มัวร์ และบรอดสกี้, อาร์ซี่. คุณฉลาดมากกว่าที่คุณคิดไว้: การพัฒนาการคิดอย่างสร้างสรรค์เพื่อความสำเร็จในชีวิต. แปลจาก You’re Smarter Than You Think: How to Develop You Practical Intelligence For Success in Living โดย วิทยากร เชียงกูล. กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ, 2540.
 Rogers’ C.R. Toward a Theory of Creativity. In P.E. Vernon (ed.), Creativity.

Hasmonds Worth: Penguin Book, 1970.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น